ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ "พระโพธิสัตว์ ผู้มีหัวใจอันยิ่งใหญ่" ภาษาอังกฤษ
ขอเชิญผู้มีบุญร่วมสร้างปัญญาบารมี ด้วยการเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์หนังสือ "พระโพธิสัตว์ ผู้มีหัวใจอันยิ่งใหญ่" ภาษาอังกฤษ สอบถามรายละเอียดโทร. 085-336-8475
ขอเชิญร่วมจัดพิมพ์ "หนังสือวิสัยบัณฑิต" โดย พระราชภาวนาจารย์
หนังสือของขวัญวันเกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557 กราบเรียนเชิญคณะศิษยานุศิษย์ร่วมเป็นต้นบุญในการจัดพิมพ์ เพื่อน้อมถวายแด่พระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโว จักได้มอบเป็นของขวัญแก่ลูกๆ ในพิธีกราบมุทิตาสักการะ ในวาระอันเป็นมงคลยิ่งนี้
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๑)
ตัวอย่างของการใช้ปัญญารักษาตัวรอด มีสติปัญญาสามารถนำพาตนให้รอดพ้นภัยพิบัติได้ ดังนั้นปัญญาจึงเป็นรัตนะของนรชนทั้งหลาย โดยเฉพาะปัญญาที่จะช่วยนำพาเรา ให้หลุดพ้นจากทุกข์ในอบายภูมิ ให้ได้เวียนวนสร้างบารมีอยู่เฉพาะในสุคติภูมิอย่างเดียว
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - มองโลกในแง่ดี
การสร้างบารมีในสภาวะปัจจุบันนี้ เราต้องคบค้าสมาคมกับบุคคลต่างๆ มากมาย ซึ่งต่างจิตต่างใจ ต่างอัธยาศัยกัน มีทั้งคนพาลและบัณฑิตปะปนกันอยู่ บางครั้งอาจจะมีอุปสรรคบ้าง แต่ก็อย่ายอมแพ้ ให้สู้ต่อไป สู้ด้วยธรรมสู้ด้วยความถูกต้องดีงาม เพราะเราปรารถนาจะช่วยเหลือชาวโลกให้พ้นจากความทุกข์
คดีโลกร้อนศาลสูงตัดสิน ''บุช'' แพ้ !!
พระพุทธศาสนาในบังคลาเทศ
บังคลาเทศเคยเป็นอู่แห่งพระพุทธศาสนา มีหลักฐานว่า พระพุทธองค์เสด็จมาประกาศพระพุทธศาสนา และเทศน์โปรดพระสาวกในดินแดนนี้ด้วยพระองค์เอง และยังพบหลักฐานเกี่ยวกับวัด, พระพุทธรูป, พระบรมสารีริกธาตุ, จารึกบนศิลา และแผ่นทองแดง ตามพื้นที่ต่างๆในดินแดนนี้ด้วย
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
มหาเถรสมาคมห่วงสงฆ์ชายแดนใต้
ร่วมเป็นเจ้าภาพเวียนประทักษิณอุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 69 ปี พระเทพญาณมหามุนี
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพ ขบวนเวียนประทักษิณงาน บรรพชาอุปสมบทหมู่ รุ่นบูชาธรรม 69 ปี พระเทพญาณมหามุนี วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย
เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน
คนในโลกนี้มีหลากหลายความเชื่อ บางครั้งก็มีความเห็นไม่ลงรอยกัน แต่..เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน?